ตัวอย่างการใช้งาน ASP (VBScript) ของ เอเอสพี

ตัวอย่างในหน้านี้ เป็นการทำงานแบบ Server-Side Script ร่วมกับการใช้ HTML ดังนี้:

<%' บรรทัดนี้ไม่มีความหมายอะไร; นอกจากเป็นแค่ หมายเหตุ (comment).:Response.Write ("Wikipedia") ' โค้ดในบรรทัดนี้จะพิมพ์คำว่า "Wikipedia" ไปในเว็บเบราว์เซอร์.%>
<% Dim X     ' ตรวจสอบทุกครั้งว่าคุณได้ประกาศตัวแปรที่จะเรียกใช้X = 1     ' X คือค่าที่เราจะใช้ในตัวอย่างนี้If X = 1 Then%><b>X มีค่าเท่ากับหนึ่ง</b><% Else %><b>X มีค่าไม่เท่ากับหนึ่ง</b><% End If %>

รหัสที่อยู่ระหว่าง <% ... %> จะผ่านการทำงานจากเซิร์ฟเวอร์ โดยจะแสดงผลเป็น HTML คือ <b>X equals one</b> เมื่อค่า X บนฝังเซิร์ฟเวอร์ มีค่าเท่ากับ 1.

ในการที่เราเปิดและปิดแท็ก <% %> บ่อยเท่าไรก็ไม่เป็นผล เพราะนั้นเป็นแค่การเปิดและปิดการทำงานของ ASP engine เท่านั้น. จากตัวอย่างด้านบน เราสามารถหาหนทางอื่นได้ เช่น:

<%Dim strWikiPediastrWikiPedia = "free"' นี่คือตัวอย่างของ ASP VBScript ล้วนๆ เพื่อทำงาน...If strWikiPedia = "free" then   Response.write "ใช้งานได้ฟรี โดยไม่ต้องใช้ บัตรเครดิต"Else   Response.write "หาบัตรเครดิตมาจ่ายซะ หรือคลิกที่แบนเนอร์"End If%>

หลังจากที่เราเริ่มใช้ "ค่าคงที่" ไปแล้ว, คราวนี้เราจะใช้เรียกข้อมูลจากวัตถุ. การเรียกข้อมูลจากวัตถุเป็นสิ่งที่หน้าสนใจอย่างหนึ่ง เราสามารถเรียกมันได้จาก "ข้อความสอบถาม" (query string) หรือจาก "ฟอร์ม" (form) ที่ส่งเข้ามา ซึ่งคุณควรจะรู้ความแตกต่างระหว่าง "post" และ "get". "get" จะถูกตั้งค่าให้อยู่ในข้อความสอบถาม (Request.QueryString () ). "post" จะถูกตั้งค่าในฟอร์ม (Request.Form () ). ดังตัวอย่าง ดังนี้.

<form action="pagename.asp" method="get">   <input type="text" name="Name" /><br />   <input type="Submit" /></form><%strName = request.querystring ("Name") ' ทำการเรียกตัวแปรชื่อ Name จากฟอร์มIf strName <> "" Then ' ถ้าค่า "strName" ไม่มีค่าเท่ากับ "" (ค่าว่าง) แล้ว   ' ในบรรทัดถัดไป ให้เขียนคำว่า "ยินดีต้อนรับเข้าสู่วิกิพีเดีย ",   ' แล้วตามด้วยชื่อของผู้เปิด.   Response.write "ยินดีต้อนรับเข้าสู่วิกิพีเดีย " & strNameEnd If%>

โค้ดด้านบนที่กล่าวมา เป็นการขอให้ผู้ใช้ ใส่ชื่อในฟอร์ม. เมื่อผู้ใช้กด "Submit", ฟอร์มจะทำการเปิดหน้านั้นใหม่อีกครั้ง แล้วจึงแสดงชื่อ และข้อความต้อนรับสู่วิกีพีเดียจากการสังเกตโค๊ดด้านบน, คุณอาจสังเกตว่า โค๊ดที่เขียนขึ้นนี้ คล้ายการพัฒนาโปรแกรมทั่วๆ ไป ใน Visual Basic 6.0แต่ในที่นี้ โครงสร้างการเขียน (syntax) ของการแสดงข้อความออกมาดูเปลี่ยนไป. Response.write เป็นคำสั่ง ในการเขียนบ้างอย่างไปยังเบราว์เซอร์เครื่องลูกข่าย.

ในทำนองเดียวกัน, Response.clear เป็นคำสั่งในการล้างเนื้อหาที่เก็บไว้ในบัฟเฟอร์ (buffer) , ที่เก็บข้อมูลสำรอง (temporary memory storage location).